ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

กราฟการใช้จ่ายภายใต้ช่วงเวลา 1 เดือน กับการวิเคราะห์เชิงระบบ


  สรุปจากกราฟการใช้จ่ายภายใต้ช่วงเวลา 1 เดือน โดยเกิดจากค่าใช้จ่ายต่างๆ ได้แก่ ค่าที่พัก ค่าเดินทาง ค่าใช้จ่ายส่วนตัว ค่าอาหาร และค่ากินของจุกจิก



การเขียนกราฟแสดงพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลาหนึ่ง (Drwing Behavior Over Time Graphs)

     การเขียนกราฟแสดงพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลาหนึ่ง  หมายถึง การคิดอย่างเป็นขั้นตอนด้วยการแสดงพฤติกรรมของตัวแปรในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อมองเห็นทิศทาง แนวโน้ม รูปแบบการเปลี่ยนแปลง นำไปสู่การช่วยคิดสมมติฐานในการหาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ

     องค์ประกอบของกราฟแสดงพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลาหนึ่ง
1. แนวนอนเป็นมิติเวลา คือ สิ่งที่แสดงช่วงเวลาการเกิดเหตุการณ์นั้นๆ เช่น ปี พ.ศ.,เดือน, ปี, วัน, เวลา เป็นต้น
2. แนวตั้งเป็นมิติปริมาณ คือ สิ่งที่แสดงถึงสาระของประเด็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลานั้นๆ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การคิดเชิงระบบกับการวิเคราะห์ปัญหาค่าใช้จ่ายในชิวิตประจำวัน : แผนผังก้างปลา

ผังก้างปลา แผนผังก้างปลา หรือเรียกเป็นทางการว่า แผนผังสาเหตุและผล ( Cause and Effect Diagram) แผนผังสาเหตุและผลเป็นแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา ( Problem) กับสาเหตุทั้งหมดที่เป็นไปได้ที่อาจก่อให้เกิดปัญหานั้น ( Possible Cause) เราอาจคุ้นเคยกับแผนผังสาเหตุและผล ในชื่อของ "ผังก้างปลา ( Fish Bone Diagram)" เนื่องจากหน้าตาแผนภูมิมีลักษณะคล้ายปลาที่เหลือแต่ก้าง หรือหลายๆ คนอาจรู้ จักในชื่อของแผนผังอิชิกาว่า ( Ishikawa Diagram) ซึ่งได้รับการพัฒนาครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1943 โดย ศาสตราจารย์คาโอรุ อิชิกาว่า แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว เมื่อไรจึงจะใช้แผนผังก้างปลา 1. เมื่อต้องการค้นหาสาเหตุแห่งปัญหา 2. เมื่อต้องการทำการศึกษา ทำความเข้าใจ หรือทำความรู้จักกับกระบวนการอื่น ๆ เพราะว่าโดยส่วนใหญ่พนักงานจะรู้ปัญหาเฉพาะใน พื้นที่ของตนเท่านั้น แต่เมื่อมีการ ทำผังก้างปลาแล้ว จะทำให้เราสามารถรู้กระบวนการของแผนกอื่นได้ง่ายขึ้น 3. เมื่อต้องการให้เป็นแนวทางใน การระดมสมอง ซึ่งจะช่วยให้ทุกๆ คนให้ความสนใจในปัญหาของกลุ่มซึ่งแสดงไว้ที่หัวปลา วิธีการสร้างแผนผังสาเหตุและผลหรือผังก้าง...

การคิดเชิงระบบกับการวิเคราะห์ปัญหาค่าใช้จ่ายในชิวิตประจำวัน : ผังความคิด

Mind Map  คืออะไร ?  Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดียวกันมันก็ช่วยเป็นสื่อนำข้อมูลจากภายนอก เช่น หนังสือ คำบรรยาย การประชุม ส่งเข้าสมองให้เก็บรักษาไว้ได้ดีกว่าเดิม ซ้ำยังช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ง่ายเข้า เนื่องจะเห็นเป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูลหรือ ความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า  “ ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ”\ ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือ นำประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลัก แล้วต่อด้วยประเด็นรองในชั้นถัดไป การสร้าง แผนที่ความคิด หรือ Mind Map  ขั้นตอนการสร้าง Mind Map  1. เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบ ๆ 3. เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ 4. ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิด...

การคิดเชิงระบบกับการวิเคราะห์ปัญหาการเก็บเงินภายใน 1 ปี : 5W2H

    เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาด้วย 5W2H            คือ การตั้งคาถามในการสารวจปัญหาและแนวทางการแก้ไขโดยการท้าทายด้วยคาถาม 5W2H จะใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลหรือปัญหา ได้เกือบทุกรูปแบบ โดยเป็นการคิดวิเคราะห์ ( Analysis Thinking) ที่ใช้ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งหนึ่งสิ่งใดซึ่งอาจจะเป็นวัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ นามาหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อค้นหาคาตอบที่เป็นความเป็นจริง หรือที่เป็นสิ่งที่สาคัญ จากนั้นจึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดระบบ เรียบเรียงใหม่ให้ง่ายแก่ต่อการทาความเข้าใจ องค์ประกอบของ 5W2H            1. Who ใคร คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า ใครรับผิดชอบ ใครเกี่ยวข้อง ใครได้รับผลกระทบ ในเรื่องนั้นมีใครบ้าง            2. What ทาอะไร คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า เราจะทาอะไร แต่ละคนทาอะไรบ้าง            3. Where ที่ไหน คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า สถานที่ที่เราจะทาว่าจะทาที่ไหน เหตุการณ...