ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การคิดเชิงระบบกับการวิเคราะห์ปัญหาการเก็บเงินภายใน 1 ปี : 5W2H



  เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาด้วย 5W2H 
          คือ การตั้งคาถามในการสารวจปัญหาและแนวทางการแก้ไขโดยการท้าทายด้วยคาถาม 5W2H จะใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลหรือปัญหา ได้เกือบทุกรูปแบบ โดยเป็นการคิดวิเคราะห์ (Analysis Thinking) ที่ใช้ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งหนึ่งสิ่งใดซึ่งอาจจะเป็นวัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ นามาหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อค้นหาคาตอบที่เป็นความเป็นจริง หรือที่เป็นสิ่งที่สาคัญ จากนั้นจึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดระบบ เรียบเรียงใหม่ให้ง่ายแก่ต่อการทาความเข้าใจ

องค์ประกอบของ 5W2H
           1. Who ใคร คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า ใครรับผิดชอบ ใครเกี่ยวข้อง ใครได้รับผลกระทบ ในเรื่องนั้นมีใครบ้าง
           2. What ทาอะไร คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า เราจะทาอะไร แต่ละคนทาอะไรบ้าง
           3. Where ที่ไหน คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า สถานที่ที่เราจะทาว่าจะทาที่ไหน เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทานั้นอยู่ที่ไหน
           4. When เมื่อไหร่ คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า ระยะเวลาที่จะทาจนถึงสิ้นสุด เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทานั้นทาเมื่อวัน เดือน ปี ใด
           5. Why ทาไม คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า สิ่งที่เราจะทานั้น ทาด้วยเหตุผลใด เหตุใดจึงได้ทาสิ่งนั้น หรือเกิดเหตุการณ์นั้นๆ
           6. How อย่างไร คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า เราจะสามารถทาทุกอย่างให้บรรลุผลได้อย่างไร เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทานั้นทาอย่างไรบ้าง
           7. How Much เท่าไร คือการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย งบประมาณเท่าไหร่ 

ประโยชน์ของการคิดวิเคราะห์ 5W2H
             1. ทาให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์นั้น
             2. ใช้เป็นฐานความรู้ในการนาไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา
             3. ทาให้เราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลให้กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
             4. ทาให้เราสามารถประมาณความน่าจะเป็นได้
ตัวอย่างการใช้ 5W1H ในการวิเคราะห์ข้อมูล
          เริ่มต้นก็คือ เราต้องตั้งคาถามและพยายามหาคาตอบในแต่ละหัวข้อคาถาม โดยการตั้งคาถามอาจไม่จาเป็นต้องเรียงข้อของคาถาม แต่พิจารณาจากความเหมาะสม การยกตัวอย่างอาจจะยังไม่สมบูรณ์เท่าไร แต่จุดประสงค์คือต้องการให้เห็นหรือเข้าใจแนวความคิดในการตั้งคาถามเท่านั้น
เราจะยกตัวอย่างการเริ่มต้นทาธุรกิจ
          W - Who ตัวแรก ใครคือลูกค้าของเรา? ใครคือกลุ่มเป้าหมายที่เป็นลูกค้าของเรา? เราควรระบุกลุ่มเป้าหมายที่เป็นลูกค้าของเราได้ เช่น อายุ, เพศ, การศึกษา, ศาสนา, อาชีพ, เงินเดือน, ที่อยู่อาศัย, ขนาดครัวเรือน พฤติกรรมการบริโภค ข้อมูลเหล่านี้ จะช่วยทาให้เราสามารถ ระบุกลุ่มเป้าหมายลูกค้าของเราได้ชัดเจน เพื่อที่เราจะสามารถวางแผนการผลิต แผนการตลาด หรือแผนการสร้างสินค้าและบริการที่สามารถตอบสนองกลุ่มเป้าหมายที่เป็นลูกค้า ของเราได้อย่างถูกต้อง
          W – What เราต้องรู้ว่าอะไรคือสิ่งที่ลูกค้าของเราต้องการ? เราควรระบุรูปแบบของสินค้าหรือบริการของเราได้ว่า รูปแบบไหนที่ลูกค้าของเราต้องการ และเราสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าของเราได้ และอะไรที่จะทาให้เราสามารถสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าหรือบริการของเรา จากคู่แข่งของเราได้
           W – Where ลูกค้าของเราอยู่ที่ไหน? เราควรระบุได้ว่าลูกค้าของเราอยู่ที่ไหนบ้าง และที่ไหนคือที่ที่เราจะสามารถนาเสนอสินค้าของเราให้กับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย
           W – Whenเมื่อไรที่ลูกค้าของเรามีความต้องการสินค้า? เราควรระบุได้ว่าลูกค้ากลุ่มเป้าหมายของเราต้องการสินค้าหรือบริการของเรา เมื่อไร ในช่วงเวลาไหน และต้องการบ่อยแค่ไหน ซึ่งจะช่วยทาให้เราสามารถกาหนดและวางแผนต่างๆ ให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าของเราได้อย่างถูกต้อง
           W – Whyทาไมลูกค้ากลุ่มเป้าหมายของเราต้องซื้อหรือใช้บริการของเรา? เราควรระบุได้ว่าทาไมลูกค้ากลุ่มเป้าหมายของเราจะเลือกซื้อสินค้าหรือบริการ ของเรา แทนที่จะซื้อจากคู่แข่งของเรา หรือทาไมเราต้องเข้ามาทาธุรกิจนี้
           H – Howเราจะเข้าถึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมายของเราได้อย่างไร? เราควรระบุได้ว่า เราจะสามารถเข้าถึงลูกค้าของเราได้ด้วยวิธีไหน อย่างไร ซึ่งเราควรมีการวางแผนและกาหนดวิธีการที่เราสามารถเข้าถึงลูกค้าของเราได้ อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากที่สุด

           H - How muchเราประมาณการณ์ค่าใช้จ่ายในการตอบโจทย์ของการแก้ปัญหาหรือตามวัตถุประสงค์เท่าไร


แหล่งอ้างอิง
http://www.gkacc.co.th/mainpage/content.php?id=26
http://thaibettersolutions.blogspot.com/2009/09/5w.html


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การคิดเชิงระบบกับการวิเคราะห์ปัญหาค่าใช้จ่ายในชิวิตประจำวัน : แผนผังก้างปลา

ผังก้างปลา แผนผังก้างปลา หรือเรียกเป็นทางการว่า แผนผังสาเหตุและผล ( Cause and Effect Diagram) แผนผังสาเหตุและผลเป็นแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา ( Problem) กับสาเหตุทั้งหมดที่เป็นไปได้ที่อาจก่อให้เกิดปัญหานั้น ( Possible Cause) เราอาจคุ้นเคยกับแผนผังสาเหตุและผล ในชื่อของ "ผังก้างปลา ( Fish Bone Diagram)" เนื่องจากหน้าตาแผนภูมิมีลักษณะคล้ายปลาที่เหลือแต่ก้าง หรือหลายๆ คนอาจรู้ จักในชื่อของแผนผังอิชิกาว่า ( Ishikawa Diagram) ซึ่งได้รับการพัฒนาครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1943 โดย ศาสตราจารย์คาโอรุ อิชิกาว่า แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว เมื่อไรจึงจะใช้แผนผังก้างปลา 1. เมื่อต้องการค้นหาสาเหตุแห่งปัญหา 2. เมื่อต้องการทำการศึกษา ทำความเข้าใจ หรือทำความรู้จักกับกระบวนการอื่น ๆ เพราะว่าโดยส่วนใหญ่พนักงานจะรู้ปัญหาเฉพาะใน พื้นที่ของตนเท่านั้น แต่เมื่อมีการ ทำผังก้างปลาแล้ว จะทำให้เราสามารถรู้กระบวนการของแผนกอื่นได้ง่ายขึ้น 3. เมื่อต้องการให้เป็นแนวทางใน การระดมสมอง ซึ่งจะช่วยให้ทุกๆ คนให้ความสนใจในปัญหาของกลุ่มซึ่งแสดงไว้ที่หัวปลา วิธีการสร้างแผนผังสาเหตุและผลหรือผังก้าง...

การคิดเชิงระบบกับการวิเคราะห์ปัญหาค่าใช้จ่ายในชิวิตประจำวัน : ผังความคิด

Mind Map  คืออะไร ?  Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดียวกันมันก็ช่วยเป็นสื่อนำข้อมูลจากภายนอก เช่น หนังสือ คำบรรยาย การประชุม ส่งเข้าสมองให้เก็บรักษาไว้ได้ดีกว่าเดิม ซ้ำยังช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ง่ายเข้า เนื่องจะเห็นเป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูลหรือ ความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า  “ ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ”\ ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือ นำประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลัก แล้วต่อด้วยประเด็นรองในชั้นถัดไป การสร้าง แผนที่ความคิด หรือ Mind Map  ขั้นตอนการสร้าง Mind Map  1. เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบ ๆ 3. เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ 4. ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิด...